SNN MODEL




                                                             

                                                  SNN MODEL



 บทบาทครู

      1.แผนการจัดการเรียนรู้
      2. สื่อ นวัตกรรม สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ 
      3. เครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
1. กำหนดวัตถุประสงค์

1.1 ความรู้
1.2 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.3 จิตวิทยาศาสตร์

2. กิจกรรม/ภาระงาน
2.1 กิจกรรมเพื่อให้รู้จุดประสงค์การเรียนรู้
2.2 เสาะหาหรือสืบค้นเพื่อบรรลุกิจกรรม
2.3 นาเสนอ และ วิพากษ์

3. วัดผล
3.1 ตรวจสอบทบทวนตัวเอง ตามกิจกรรมและภาระงาน
3.2 ประเมินตนเองในความรู้ กระบวนการและจิตวิทยาศาสตร์
3.3 การตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง

บทบาทนักเรียน

abcd  S = Standard 
               (ตอบคำถาม)  
                     -----> ความรู้
                     -----> กระบวนการ
                     -----> จิตวิทยาศาสตร์
adfe  N = Networking เสาะหา/สืบค้น
                (สุปความรู้/วิพากษ์)
bcfc  N = No child left behind
                    -----> ตรวจสอบทบทวนตัวเอง ตามกิจกรรมและภาระงาน
                    -----> ประเมินตนเองในความรู้ กระบวนการและจิตวิทยาศาสตร์

รูปแบบการสอนแบบทางตรง

           แนวคิดของรูปแบบ การเรียนการสอนโดยจัดสาระและวิธีการให้ผู้เรียนอย่างดี ทั้งด้านเนื้อหา ความรู้ และการให้ผู้เรียนใช้เวลาเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ

          วัตถุประสงค์ รูปแบบการสอนนี้มุ่งช่วยให้ได้เรียนรู้ทั้งเนื้อหาสาระและมโนทัศน์ต่างๆ รวมทั้งได้ฝึกปฏิบัติทักษะต่างๆ จนสามารถทำได้ดีและประสบผลสำเร็จในเวลาที่จำกัด

          กระบวนการเรียนการสอน
                1. ขั้นนำ
                         แจ้งวัตถุประสงค์ของบทเรียน สาระของบทเรียน และหน้าที่รับผิดชอบของผู้เรียน
                2. ขั้นนำเสนอบทเรียน
                         นำเสนอเนื้อหาสาระ ข้อความรู้หรือมโนทัศน์ อธิบายชัดเจน และยกตัวอย่างประกอบ
                3. ขั้นฝึกปฏิบัติตามแบบ
                         ผู้เรียนลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนปฏิบัติเป็นตัวอย่าง
                4. ขั้นฝึกปฏิบัติภายใต้การกำกับชี้แนะ
                         ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ โดยผู้สอนคอยดูแลอยู่ห่างๆ
                5. การฝึกปฏิบัติอย่างอิสระ
                         ผู้สอนปล่อยให้ผู้เรียนปฏิบัติต่อไปอย่างอิสระ เพื่อช่วยให้เกิดชำนาญและการเรียนรู้อย่างคงทน

          ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติตามความสามารถของตน จนสามารถวัตถุประสงค์ ทำให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียน และมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง

การสอนแบบสร้างความรู้ด้วยตนเอง

     แนวคิด 
          1. เริ่มที่ผู้เรียนต้องอยากรู้ อยากเรียน อยากทำก่อน จึงจะเป็นตัวเร่งให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ
          2. ใช้ความผิดพลาดเป็นบทเรียน เป็นแรงจูงใจภายใน ให้เกิดการสร้างสรรค์ความรู้
          3. การเรียนรู้เป็นทีม จะดีกว่าการเรียนรู้คนเดียว

     ขั้นตอนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
          1. Explore คือ การสำรวจตรวจค้น บุคคลจะเริ่มสำรวจตรวจค้นหรือพยายามทำความเข้าใจกับสิ่งที่สนใจจะเรียนรู้ 
          2. Experiment คือ การทดลอง เป็นการทดลองทำภายหลังจากที่มีการสำรวจไปแล้ว
          3. Learning by doing คือ การเรียนรู้จากการกระทำ เป็นการลงมือปฏิบัติ การได้ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่มีความหมายต่อตนเอง แล้วสร้างองค์ความรู้ของตนเองขึ้นมา
          4. Doing by learning คือ การทำเพื่อที่จะให้เกิดการเรียนรู้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น